top of page
image.png

สุรา
 

ความหมายของสุรา ในพระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. 2493 ไดกําหนดความหมายของสุราไววา “สุรา หมายความรวมถึงวัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มี แอลกอฮอล ซึ่งสามารถดื่มกินไดเชนเดียวกับน้ําสุราหรือซึ่งดื่มกินไมได แตเมื่อผสมกับน้ําหรือของเหลวอยางอื่นแลวสามารถดื่มกิน ไดเชนเดียวกับน้ําสุรา” กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใหความหมายของสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (Alcoholic Beverages) ไววา “สุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (Alcoholic Beverages) หมายความรวมถึงเครื่องดื่มใดๆ ในรูปของของเหลวที่มีเอทิลแอลกอฮอล (Ethyl Alcohol) เปนองคประกอบไมนอยกวา 0.5 เปอรเซนตโดยปริมาตร และสามารถบริโภคได” มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสุรากลั่น มอก. 2088–2544 ไดใหคํานิยามของสุราไววา “สุรา หมายถึง เครื่องดื่มที่มีแรง แอลกอฮอลเกิน 0.5 ดีกรี แตไมเกิน 80 ดีกรี ” ความหมายของสุรากลั่นชุมชนและสุราแชชุมชน ในประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง วิธีการบริหารงานสุรา พ.ศ. 2544 (ฉบับที่ 3) เรื่อง วิธีบริหารงานสุรา พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 4) และประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการอนุญาตใหทําและขายสุราแชชนิดสุราผลไม สุราแชพื้นเมือง และสุราแชอื่นนอกจากเบียร พ.ศ. 2546 ไดกําหนดความหมายของสุราตางๆ ไว ดังนี้ “สุราแชและผลิตภัณฑ” หมายความวา สุราแชชนิดสุราผลไม สุราแชพื้นเมือง สุรา แชอื่นนอกจากเบียร “สุราแชพื้นเมือง” หมายความวา สุราที่ไมไดกลั่น เชน กระแช หรือน้ําตาลเมาซึ่งทํา จากวัตถุดิบจําพวกน้ําตาล และอุ น้ําขาว หรือสาโท ซึ่งทําจากวัตถุดิบจําพวกขาว ซึ่ง หมักกับเชื้อสุราแลวมีแรงแอลกอฮอลไมเกินสิบหาดีกรี “สุราแชอื่น” หมายความวา สุราที่ไมไดกลั่น นอกจากสุราแชชนิดสุราผลไมและสุรา แชพื้นเมือง ซึ่งทําจากวัตถุดิบใดๆ ก็ตามที่เปนผลิตผลทางการเกษตรภายในประเทศไทย ซึ่งหมักกับเชื้อสุราแลวมีแรงแอลกอฮอล ไมเกินสิบหาดีกรี “สุรากลั่นชุมชน” หมายถึง สุรากลั่นชนิดสุราขาว ทําจากวัตถุดิบจําพวกขาว หรือแปง หรือผลไม หรือน้ําผลไม หรือผลิตทาง การเกษตรอื่นๆ มีแรงแอลกอฮอลเกินกวา 15 ดีกรี แตไมเกิน 40 ดีกรี สุรากลั่นชุมชนและสุราแชชุมชน นอกจากมีความหมาย ดังกลาวขางตนแลว ยังมีเงื่อนไขวาตองทําการผลิตสุราดังกลาวในสถานที่ ทําสุราซึ่งใชเครื่องจักรที่มีกําลังรวมต่ํากวาหาแรงมา หรือใชคนงานนอยกวาเจ็ดคน หรือกรณีที่ใชทั้งเครื่องจักรและคนงาน เครื่องจักรตองมีกําลังรวมต่ํากวาหาแรงมา และคนงานตองนอยกวาเจ็ดคน

ที่มา : มัทนา พฤกษะริตานนท นักวิทยาศาสตร 8 กลุมงานวิเคราะหสินคาและของกลาง " ทิศทางการพัฒนาคุณภาพสุราชุมชน "

bottom of page